IT Outsourcing: Financial Concepts
ในการพิจารณาตัวเลขทางการเงินว่าการที่เราทำ IT Outsourcing จะประหยัดงบประมาณได้เท่าใดนั้น เรามีความจำเป็นที่ต้องสร้าง Base case ขึ้นมาเพื่อเปรียบเทียบกับข้อเสนอของ vendor. ที่เราต้องการเปรียบเทียบ สิ่งที่เราต้องพิจารณาประกอบด้วย
I. รูปแบบของงาน IT ที่ต้องการเปรียบเทียบ ว่าเป็นงานอะไร เช่น เป็นการส่งมอบแอพริเคชั่น การพัฒนาแอพริเคชั่น การบริการลูกค้า การให้บริการฝีมือ
II. รูปแบบทางการเงิน (financial concepts) เนื่องจากแต่ละรูปแบบมีองค์ประกอบของค่าใช้จ่ายไม่เหมือนกัน เช่น
Distribution Computing Processing Base Case ประกอบด้วย
1. ค่าใช้จ่ายบุคลากร (Personnel Cost) ประกอบด้วย
- ค่าบุคลากร ที่บริหารจัดการสินทรัพย์จัดทำรายงานด้านประกันคุณภาพ (Service Level Reporting)
- ค่าบุคลากรด้านปฏิบัติการ เช่น งานบำรุงรักษาฮาร์แวร์และซอฟแวร์ งานสนับสนุน งานวางแผน จัดการกู้ระบบ. งานความปลอดภัยของระบบ
- ค่าบริการด้านเทคนิค งานออบแบบและบำรุงรักษาLAn และระบบเชื่อมต่อโครงข่ายอื่นๆ
2.ค่าใช้จ่ายที่ไม่เกี่ยวกับบุคลากร (Non personnel Cost) ประกอบด้วย
- ค่าอุปกรณ์ฮาร์แวร์ เช่น Desktop Workstation อุปกรณ์ควบคุมเครื่องพิมพ์ ระบบสื่อสาร
- ค่าซอฟแวร์ เช่น OS, Application Software, Network OS, Network Management
- ค่าสถานที่
- ค่าบริการภายนอก เช่นการตกลงการบำรุงรักษา (Maintenance Agreement)
IT Help Desk Base Case ประกอบด้วย
1. ค่าใช้จ่ายบุคลากร (Personnel Cost) ประกอบด้วย
- ค่าบุคลากรที่ทำงาน เกี่ยวกับ ระบบบิล ระบบสนับสนุน
- ค่าบุคลกรด้านปฏิบัติการ (Tier 1 Customer Service (call response, incident logging) และ Tier 2/3 Customer Service (Special Diagnosis and Problem Resolution) -- ค่าบริการด้านเทคนิค
2. ค่าใช้จ่ายที่ไม่เกี่ยวกับบุคลากร (Non personnel Cost). ประกอบด้วย
- ค่าอุปกรณ์ฮาร์แวร์ของ. (Call Center hardware)
- ค่าซอฟแวร์ (Call Center Software)
- ค่าสถานที่
- ค่าบริการภายนอก เช่นค่าใช้โครงข่ายจ่ายผู้ให้บริการโทรคมนาคม (ค่าใช้เลขหมาย ค่าเช่าวงจร)
III. Timeframe ระยะเวลาจากปัจจุบันจนถึงเวลาที่กำหนดของ Base Case. เช่น 5 ปี
Source: Information Technology Outsourcing Transactions, John K. Halvey, Barbara Murphy Melby, John Wiley & Sons, Inc., 2005
วันเสาร์ที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2555
วันศุกร์ที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2555
การแบ่งประเภทสารสนเทศสำหรับงาน Outsourcing (IT Category for IT OUtsourcing
การแบ่งงานสารสนเทศ (Information Technology)
การแยกประเภทงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ หรืองานสารสนเทศ (Information Technology) นั้น มีหลายวิธี ขึ้นอยู่กับว่าใครเป็นผู้แบ่งและมีเจตนาว่จะไจ้ไปใช้ทำอะไร ประกอบกับ คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ มีการเปลี่ยนแปลงรวดเร็วมาก จึงทำให้สับสนว่าจำนำวิธีใดไปใช้
ในกรณีที่ แบ่งตามงาน ตามมุมมองของลูกค้าที่ใช้ IT (IT Service) เพื่อประโยชน์ในการพิจารณาว่างาน IT ประเภทไหน จะให้องค์กรภายนอกดำเนินการแทน (Outsourcing) นั้น สามารถแบ่งได้ดังนี้
1. การส่งมอบแอพริเคชั่น (Application Delivery) เป็นงาน คำนวณ สื่อสาร และบุคลากรที่ทำให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงและใช้ตัวแอพริเคชั่นของคอมพิวเตอร์ได้ เช่น Distributing - Super Computing, WAN, LAN, Voice and Video Communications
2. การพัฒนาแอพริเคชั่น (Application Development) เป็นงานที่ต้องการ บุคลากร และทรัพยากรที่ใช้ในการสร้างและทดสอบแอพริเคชั่นใหม่ๆ เช่น Design, Coding and Testing, Quality assurance, Database administration, Implemetaion services
3. งานบริการลูกค้า (Customer Service) เป็นงานที่ใช้บุคลากร และทรัพยากรอื่นในการอำยวยความสะดวกในการใช้สารสนเทศ (IT resources) เช่น Help Desk, Information Center, Business Liason
4. งานบริการฝีมือ (Professional Services) เป็นงานที่ใช้บุคลากรและทรัพยากรอื่นในการให้บริการพิเศษเช่น การอบรม การให้คำปรึกษา เช่น Training, Consulting, and data entry
การแบ่งประเภท IT ข้างต้นใช้ทรัพยากรเม่อนกันดังนี้
1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware) เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ data storage อุปกรณ์ output อุปกรณ์สื่อสาร
2. ซอฟแวร์ (Software) เช่นชุดคำสั่งที่ทำให้คอมพิวเตอร์ทำงาน
3. บุคลากร (Personnel) ด้านเทคนิค ปฏิบัติการ. บริหารและบริการ
4. อาคารสถานที่ (facilities) เช่นตึกคอมพิวเตอร์
5. บริการจากภายนอก (Outside services) เช่น ระบบสื่อสารจากผู้ให้บริการโทรคมนาคมการบริการกู้ภัยฉุกเฉิน (Disaster recovery)
Source: Information Technology Outsourcing Transactions: Process, Strategies, and Contracts, John K. Kalvey, Barbara Murphy Melby, John Wiley & Sons, Inc., 2005
การแยกประเภทงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ หรืองานสารสนเทศ (Information Technology) นั้น มีหลายวิธี ขึ้นอยู่กับว่าใครเป็นผู้แบ่งและมีเจตนาว่จะไจ้ไปใช้ทำอะไร ประกอบกับ คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ มีการเปลี่ยนแปลงรวดเร็วมาก จึงทำให้สับสนว่าจำนำวิธีใดไปใช้
ในกรณีที่ แบ่งตามงาน ตามมุมมองของลูกค้าที่ใช้ IT (IT Service) เพื่อประโยชน์ในการพิจารณาว่างาน IT ประเภทไหน จะให้องค์กรภายนอกดำเนินการแทน (Outsourcing) นั้น สามารถแบ่งได้ดังนี้
1. การส่งมอบแอพริเคชั่น (Application Delivery) เป็นงาน คำนวณ สื่อสาร และบุคลากรที่ทำให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงและใช้ตัวแอพริเคชั่นของคอมพิวเตอร์ได้ เช่น Distributing - Super Computing, WAN, LAN, Voice and Video Communications
2. การพัฒนาแอพริเคชั่น (Application Development) เป็นงานที่ต้องการ บุคลากร และทรัพยากรที่ใช้ในการสร้างและทดสอบแอพริเคชั่นใหม่ๆ เช่น Design, Coding and Testing, Quality assurance, Database administration, Implemetaion services
3. งานบริการลูกค้า (Customer Service) เป็นงานที่ใช้บุคลากร และทรัพยากรอื่นในการอำยวยความสะดวกในการใช้สารสนเทศ (IT resources) เช่น Help Desk, Information Center, Business Liason
4. งานบริการฝีมือ (Professional Services) เป็นงานที่ใช้บุคลากรและทรัพยากรอื่นในการให้บริการพิเศษเช่น การอบรม การให้คำปรึกษา เช่น Training, Consulting, and data entry
การแบ่งประเภท IT ข้างต้นใช้ทรัพยากรเม่อนกันดังนี้
1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware) เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ data storage อุปกรณ์ output อุปกรณ์สื่อสาร
2. ซอฟแวร์ (Software) เช่นชุดคำสั่งที่ทำให้คอมพิวเตอร์ทำงาน
3. บุคลากร (Personnel) ด้านเทคนิค ปฏิบัติการ. บริหารและบริการ
4. อาคารสถานที่ (facilities) เช่นตึกคอมพิวเตอร์
5. บริการจากภายนอก (Outside services) เช่น ระบบสื่อสารจากผู้ให้บริการโทรคมนาคมการบริการกู้ภัยฉุกเฉิน (Disaster recovery)
Source: Information Technology Outsourcing Transactions: Process, Strategies, and Contracts, John K. Kalvey, Barbara Murphy Melby, John Wiley & Sons, Inc., 2005
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)